[:en]มหาวิทยาลัยวลัยลักษณ์สมัครเข้ารับการจัดอันดับ THE Impact Rankings เป็นครั้งแรก[:th]มหาวิทยาลัยวลัยลักษณ์สมัครเข้ารับการจัดอันดับ THE Impact Rankings เป็นครั้งแรก[:]

[:en]

เมื่อวันที่ 26 พฤศจิกายน 2563 ที่ผ่านมา มหาวิทยาลัยลัยลักษณ์ โดย ศาสตราจารย์ ดร. สมบัติ ธำรงธัญวงศ์ อธิการบดี ได้ทำการส่งข้อมูลเพื่อเข้ารับการจัดอันดับ  THE Impact Rankings  เป็นครั้งแรก โดยการดำเนินภารกิจด้านการพัฒนาแบบยั่งยืน หรือ Sustainable Development Goals ของ United Nation  ที่ THE (Times Higher Education) ได้นำมาเป็นตัวชี้วัดหลักนั้น ได้รับการบรรจุอยู่ในนโยบายหลักของมหาวิทยาลัยวลัยลักษณ์อยู่แล้ว โดยมหาวิทยาลัยได้ให้ความสำคัญกับการลดของเสีย การประหยัดพลังงาน และการรักษาสิ่งแวดล้อม มาอย่างต่อเนื่อง

การสมัครเข้าร่วมโครงการเพื่อรับการจัดอันดับในครั้งนี้จึงเป็นการพิสูจน์ผลการดำเนินงานของมหาวิทยาลัยที่สอดคล้องตามเกณฑ์ในระดับมาตรฐานสากลที่ถูกกำหนดโดย Times Higher Education นับเป็นความก้าวหน้าของมหาวิทยาลัยในการยกระดับองค์กรให้มีมาตฐานรองรับ โดยผลการจัดอันดับจะประกาศในวันที่ 22 เมษายน 2564

โอกาสนี้ ศูนย์กิจการนานาชาติ ในฐานะเป็นหน่วยงานที่ได้รับมอบหมายให้รวบรวม วิเคราะห์ข้อมูล และ นำเข้าข้อมูลในระบบ THE Impact Rankings ขอขอบคุณผู้บริหารและทุกหน่วยงานที่เกี่ยวข้อง ( ศบว ศบศ ศนร อทว สวส สวน ศบส ทมอ สสอ กนศ โครงการมหาวิทยาลัยสีเขียว คณบดีสำนักวิชาและวิทยาลัย หัวหน้าศูนย์ความเป็นเลิศต่างๆ ) ในการเตรียมข้อมูลและหลักฐานและสนับสนุนการทำงานในทุกรูปแบบในระยะเวลาที่จำกัดมากๆในช่วง 3 สัปดาห์ที่ผ่านมา โดยการยื่นข้อมูลในปีนี้ มวล ได้ submit ทั้งหมด 7 SDGs ที่วิเคราะห์แล้วว่า มวล มีผลการดำเนินงานที่สอดคล้องตามเกณฑ์และมีหลักฐานเพียงพอ คือ SDG2: Zero Hunger, SDG3: Good Health and Well-being, SDG4: Quality Education, SDG6: Clear Water and Sanitation, SDG9: Industry, Innovation and Infrastructure, SDG14: Life Below Water และ SDG17: Partnerships for the Goals[:th]

เมื่อวันที่ 26 พฤศจิกายน 2563 ที่ผ่านมา มหาวิทยาลัยลัยลักษณ์ โดย ศาสตราจารย์ ดร. สมบัติ ธำรงธัญวงศ์ อธิการบดี ได้ทำการส่งข้อมูลเพื่อเข้ารับการจัดอันดับ  THE Impact Rankings  เป็นครั้งแรก โดยการดำเนินภารกิจด้านการพัฒนาแบบยั่งยืน หรือ Sustainable Development Goals ของ United Nation  ที่ THE (Times Higher Education) ได้นำมาเป็นตัวชี้วัดหลักนั้น ได้รับการบรรจุอยู่ในนโยบายหลักของมหาวิทยาลัยวลัยลักษณ์อยู่แล้ว โดยมหาวิทยาลัยได้ให้ความสำคัญกับการลดของเสีย การประหยัดพลังงาน และการรักษาสิ่งแวดล้อม มาอย่างต่อเนื่อง

การสมัครเข้าร่วมโครงการเพื่อรับการจัดอันดับในครั้งนี้จึงเป็นการพิสูจน์ผลการดำเนินงานของมหาวิทยาลัยที่สอดคล้องตามเกณฑ์ในระดับมาตรฐานสากลที่ถูกกำหนดโดย Times Higher Education นับเป็นความก้าวหน้าของมหาวิทยาลัยในการยกระดับองค์กรให้มีมาตฐานรองรับ โดยผลการจัดอันดับจะประกาศในวันที่ 22 เมษายน 2564

โอกาสนี้ ศูนย์กิจการนานาชาติ ในฐานะเป็นหน่วยงานที่ได้รับมอบหมายให้รวบรวม วิเคราะห์ข้อมูล และ นำเข้าข้อมูลในระบบ THE Impact Rankings ขอขอบคุณผู้บริหารและทุกหน่วยงานที่เกี่ยวข้อง ( ศบว ศบศ ศนร อทว สวส สวน ศบส ทมอ สสอ กนศ โครงการมหาวิทยาลัยสีเขียว คณบดีสำนักวิชาและวิทยาลัย หัวหน้าศูนย์ความเป็นเลิศต่างๆ ) ในการเตรียมข้อมูลและหลักฐานและสนับสนุนการทำงานในทุกรูปแบบในระยะเวลาที่จำกัดมากๆในช่วง 3 สัปดาห์ที่ผ่านมา โดยการยื่นข้อมูลในปีนี้ มวล ได้ submit ทั้งหมด 7 SDGs ที่วิเคราะห์แล้วว่า มวล มีผลการดำเนินงานที่สอดคล้องตามเกณฑ์และมีหลักฐานเพียงพอ คือ SDG2: Zero Hunger, SDG3: Good Health and Well-being, SDG4: Quality Education, SDG6: Clear Water and Sanitation, SDG9: Industry, Innovation and Infrastructure, SDG14: Life Below Water และ SDG17: Partnerships for the Goals[:]

Facebook Comments Box